อุปกรณ์ ไม้นวดไทย เรียกขานกันหลายชื่อ เก้าอี้ยืดเส้น ,แท่นยืนคลายเส้นตึง แก้ปวดน่องน่องตึง,แท่นไม้ยืนยืดเส้น,กระดานไม้คลายเส้น เก้าอี้มหัศจรรย์ ช่วยเรื่อง ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ ช่วยในการบริหาร ทำกายภาพบำบัด
ราคาแท่นไม้ยืดเส้น 295 บาท
ค่าจัดส่ง ด่วน EMS-เคอรี่ 80 บาท
แก้อาการปวดหลัว ปวดเข่า น่องตึง คลายเส้นเอ็น รองช้ำ ด้วยอุปกณ์ในการบริหารตัวช่วย
แท่นยืนยืดเส้น-เก้าอี้ยืดเส้น-กระดานยืดเส้นเอ็น
ในการดูแลสุขภาพของทุกท่าน มหัศจรรย์ภูมิปัญญาชาวบ้าน ใช้บำบัด ป้องกัน รักษา สุขภาพ
ลักษณะ : ทำจากไม้สน บริเวณที่ยืนและส้นเท้ามีแผ่นยางกันลื่นแท่นยืนยืดเส้น-เก้าอี้ยืดเส้น-กระดานยืดเส้นเอ็น
ในการดูแลสุขภาพของทุกท่าน มหัศจรรย์ภูมิปัญญาชาวบ้าน ใช้บำบัด ป้องกัน รักษา สุขภาพ
ขนาด : กว้าง 25 CM -ยาว 30 CM -สูง 10-13 CM
ช่วยยืดเส้นเอ็นๆต่างๆตามร่างกาย ยืดกล้ามเนื้อ บำบัดป้องกันรักษาอาการปวดหลัง ปวดเข่า ปวดน่อง
ช่วยดูแลสุขภาพของท่านได้
ช่วยดูแลสุขภาพของท่านได้
แท่นไม้ยืนยืดเส้นเอ็น กระดานยืดเส้น แท่นยืนคลายเส้น มหัศจรรย์ภูมิปัญญาชาวบ้าน เพื่อสุขภาพที่ดี
ไม่ใช่เครื่องมือแพทย์ ที่นำไปรักษาโรคต่างๆได้ เป็นอุปกรณ์ช่วยในเรื่องการบำบัดและป้องกันช่วยส่งเสริม
สุขภาพให้แข็งแรง ห่างไกลจากโรค โดยเฉพาะในเรื่องเส้นเอ็นต่างๆ ตามร่ายกาย และกล้ามเนื้อ
ช่วยในเรื่องการออกกำลังกายยืดเส้นที่ตึง ออกกำลังกายกระตุ้นกล้ามเนื้อ ทำให้ส่งผลถึงความรู้สึก
สบายตัวขึ้น
แท่นยืนคลายเส้นยืดเส้น ช่วยคลายเส้นเอ็น มหัศจรรย์ภูมิปัญญาชาวบ้าน เหมาะกับใคร
-ผู้ที่มีปัญหาเรื่องสุขภาพ ปวดเมื่อยตามร่างกาย ปวดเส้นเอ็น เส้นตึง ปวดหลัง ปวดเอว ปวดเข่า
ปวดแขน ปวดขา ช่วยลดอาการตะคริว เป็นต้น
ปวดแขน ปวดขา ช่วยลดอาการตะคริว เป็นต้น
-ผู้ที่ออกกำลังกาย ใช้เป็นตัวช่วยในการยืดกล้ามเนื้อ ก่อนและหลังการออกกำลังกาย
-ผู้ที่มีอาการปวดตึงกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ใช้เป็นตัวช่วยในการบำบัดป้องกัน กระตุ้นการทำงาน
เเละเส้นประสาทของกล้ามเนื้อให้ตื้นตัว
เเละเส้นประสาทของกล้ามเนื้อให้ตื้นตัว
-ผู้ที่รักและต้องการดูสุขภาพทุกท่าน
ข้อควรระวังในการใช้ แท่นยืนคลายเส้น เพื่อสุขภาพ
-การใช้เก้าอี้ยืดเส้น กระดานยืดเส้นนี้ แนะนำควรใช้งานบริหาร ทำสม่ำเสมอค่อยเป็นค่อยไป อย่าฝืนร่างกายและ
หักโหม ค่อยๆปรับร่างการเส้นเอ็นและกล้ามเนื้อให้สมดุล
หักโหม ค่อยๆปรับร่างการเส้นเอ็นและกล้ามเนื้อให้สมดุล
-หากเกิดอาการ ปวดหรือเจ็บส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย ควรหยุดพักให้หายค่อยทำต่อไป 1
-ในการใช้ครั้งแรกๆอาจจะยังทรงตัวให้ยืนตรงไม่ใด้ แนะนำให้ค่อยๆปรับจากระดับเก้าอี้ต่ำสุด ค่อยยืนทรงตัว
ยืดตัวให้ตรง ทีละนิด ๆอย่าหักโหม เพราะอาจเกิดการบาดเจ็บกล้ามเนื้อและเส้นเอ็นได้
ยืดตัวให้ตรง ทีละนิด ๆอย่าหักโหม เพราะอาจเกิดการบาดเจ็บกล้ามเนื้อและเส้นเอ็นได้
-ท่ายืนที่สมบรูณ์เพื่อ ปรับโครงสร้างของร่ายกายและยืดเส้นเอ็นที่ดีที่สุดคือ ยืนตัวตรงบนเก้าอี้ยืดเส้น
ส้นเท้าชิดขอบด้านหลังเก้าอี้ ปลายเท้าแบะออกเล็กน้อย หลังจากนั้น ทำตามท่าต่างๆที่แนะนำการใช้งานอย่าง
ช้าๆและค่อยเป็นค่อยไป เท่าที่กำลังแต่ละท่านผู้ใช้งาน อย่าหักโหมทำหนักจนเกิดไป อาจจะเกิดอันตรายของการ
อักเสบของกล้ามเนื้อและเส้นเอ็นเป็นได้
ส้นเท้าชิดขอบด้านหลังเก้าอี้ ปลายเท้าแบะออกเล็กน้อย หลังจากนั้น ทำตามท่าต่างๆที่แนะนำการใช้งานอย่าง
ช้าๆและค่อยเป็นค่อยไป เท่าที่กำลังแต่ละท่านผู้ใช้งาน อย่าหักโหมทำหนักจนเกิดไป อาจจะเกิดอันตรายของการ
อักเสบของกล้ามเนื้อและเส้นเอ็นเป็นได้
ใน 1 วัน ขอแนะนำให้ใช้งาน 4-5 ครั้ง ๆละ 10-15 นาที หรือเท่าที่ร่างกายแต่ละท่านผู้ใช้งานรับไหว
อย่าฝืนกล้ามเนื้อและร่างกาย เน้นให้ฝึกทำแบบค่อยเป็นค่อยไป และใช้งานสม่ำเสมอ อาการปวดเมื่อย
ตามร่างกาย จะค่อยๆทุเลาและหายไป
อย่าฝืนกล้ามเนื้อและร่างกาย เน้นให้ฝึกทำแบบค่อยเป็นค่อยไป และใช้งานสม่ำเสมอ อาการปวดเมื่อย
ตามร่างกาย จะค่อยๆทุเลาและหายไป
ช่องทางการสั่งซื้อ-ติดต่อผู้ขาย สามารถส่งรูปภาพสินค้าที่ต้องการ สอบถาม
รายละเอียดผ่านช่องทาง Line เป็นช่องทางการบริการติดต่อ-สั่งซื้อ ที่สะดวก รวดเร็วที่สุด
อุปกรณ์ที่ช่วยในเรื่อง
การป้องกัน การบำบัด และการรักษา
สำหรับท่านใดที่มีอาการปวดเส้นเอ็นหลัง -เส้นเอ็นทุกส่วนตามลำตัว
กล้ามเนื้อตึง เส้นตึง ป้องกัน รักษา บำบัด ปวดหลัง ปวดเข่า คลายเส้นเอ็น แก้ปวดเมื่อย โดยไม่"พึ่งยา"
ใช้เป็นอุปกรณ์ในการช่วยทำกายภาพบำบัดที่เป็นที่ยอมรับของวงการแพทย์
เป็นภูมิปัญญาจากชาวบ้านที่สืบทอดกันมาแต่โบราณ จนเกิดการพัฒนาอุปกรณ์
จากคนรุ่นใหม่ ให้ใช้งานง่าย สะดวก สวยงาม แข็งแรง
และปลอดภัยต่อผู้ใช้มากขึ้น
เมนูหลัก : หน้าแรก สินค้า ไม้นวดเท้า ไม้นวดหลัง วีดีโอ-การใช้งานไม้นวด
บทความที่เกี่ยวข้อง


อาการปวดหลังปวดเมื่อยตามร่างกายถือเป็นปัญหาสุขภาพ สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน
ผู้ที่มีอาการป่วยเช่นนี้จะรู้สึกรำคาญและทรมานอย่างมาก ทำให้การใช้ชีวิตประจำวันไม่มีความคล่องตัว หากออกแรงมากเกินไป ส่งผลให้มีปัญหาจากพฤติกรรม ก้ม เงย นั่ง นอน เดิน การออกกำลัง จะทำให้ อาการปวดนี้จะกำเริบหนักขึ้น สร้างความลำคาญใจและทรมานอย่างมากสำหรับผู้ป่วย อาการปวดนี้คงหนีไม่พ้น การปวดเส้นเอ็น ซึ่งสาเหตุและอาการเช่นนี้ ในการรักษาจะแตกต่างไปจากการปวดกล้ามเนื้ออย่างสิ้นเชิง
เกิดจากการอักเสบของเส้นเอ็น ทำให้มีความรู้สึกเจ็บปวด ชา ปวดแสบปวดร้อนตามเส้นเอ็นด้านใน ส่งผลให้รู้สึกมีอาการที่ปวดอย่างรุนแรง ในผู้ป่วยบางราย อาจเกิดจาก อาการเส้นตึง เส้นยืด ด้วยการใช้งานหนัก ช่วงแรกอาจจะยังไม่แสดงอาการ แต่จะเริ่มมีอาการล้าบริเวณหลัง มากขึ้นเรื่องๆเมื่อเวลาผ่านไปจะมีอาการปวดเส้นเอ็นด้านหลัง ได้ในที่สุดส่วนมากจะเกิดจากผู้ที่มีปัญหาทางด้านกระดูก และ ผู้ที่เล่นกีฬาหนัก ออกกำลังกาย ผู้ที่มี
พฤติกรรมในการใส่รองเท้าส้นสูงมาก เดินและยืนนานเกินไป การนั่งเป็นเวลานานเกินไป รวมถึงผู้ที่ยกของหนัก ผิดท่าผิดวิธีอาจมองภาพรวมไปถึงที่นอนของเราก็อาจมีผลร่วมด้วยได้แต่ถ้าเป็นผู้สูงวัยอาจมองไปที่อาการของกระดูกเป็นหลัก
-การพักผ่อน โดยการนอน นอนหงาย หรือนอนในท่าที่สบาย บนพื้นที่นอนเรียบแข็งไม่ยุบตัว
ห้ามนอนบนที่นอนนุ่มยุบ ยวบ ตามตัวโดยเด็ดขาด เพราะยิ่งจะทำให้อาการปวดมากขึ้น
ท่านอน -นอนหงายงอเข่าเล็กน้อย และ ใช้หมอนรองใต้เข่า ทำแบบนี้จนกว่าอาการปวดจะทุเลาลง
หากมีอาการปวดเส้นเอ็นหลังมาก ให้นอนหงายบนพื้นแล้วใช้เท้าพาดบนเก้าอี้ งอเข่าให้เป็นมุมฉาก
จะทำให้อาการปวดเส้นเอ็นหลัง ทุเลาลงได้
-การประคบด้วยความเย็นหรือร้อน การประคบด้วยน้ำแข็งในระยะที่ปวด 24 ชั่วโมงแรก เพื่อเป็น
การช่วยลดอาการปวดเส้นเอ็นหลัง แต่ หลังจากเวลาดังกล่าว ต้องใช้วิธีการ ประคบด้วยความ
ร้อนเพื่อบรรเทาอาการปวด
ทั้งนี้อาจใช้ยาแก้ปวดรับประทานร่วมด้วยได้
-หมั่นออกกำลังกาย อยู่เป็นประจำ ควรปรึกษานักกายภาพบำบัด หรือแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
-หากมีอาการปวดเส้นเอ็นหลังเรื้อรัง อาการชาที่หลัง หรือรู้สึกอ่อนแรงร่วมด้วย ควรปรึกษา
แพทย์วินิจฉัยสาเหตุแท้จริงและรักษาตามสาเหตุที่พบ
สำหรับท่านใดที่มีอาการปวดเส้นเอ็นหลัง -เส้นเอ็นทุกส่วนตามลำตัว
ขอแนะนำอุปกรณ์ที่ช่วยในเรื่องการป้องกันและการรักษาอาการปวดเส้นเอ็นหลัง –เส้นเอ็น
ทุกส่วนตามลำตัว
--------------------------------------------------------------------
อาการปวดเข่าในมุมมองของ - แพทย์แผนโบราณ
ในมุมมองของแพทย์แผนอาการจีน อาการปวดเข่าเรื้อรัง ไม่ได้เกิดจากอุบัติเหตุ อายุมาก หรือการใช้งานข้อเข่ามากเกินไปแต่เพียงอย่างเดียว อาจเกิดจากพฤติกรรมทำร้ายร่างกายของเราเองก็เป็นได้
เส้นลมปราณกับ - อาการปวดเข่า
พูดถึง “ลมปราณ” (หรือในภาษาจีนเรียกว่า ชี่ ) ที่อยู่ในร่างกายมนุษย์ ในทางการแพทย์แผนปัจจุบันถือว่าเป็นสิ่งที่ยังไม่สามารถหาข้อสรุปได้ ว่ามีลักษณะทางกายภาพหรือไม่ อย่างไร แต่ในทางการแพทย์แผนจีน ซึ่งมุ่งเน้นในเรื่องของพลังชีวิตนั้นมีความเชื่อว่า คนจะมีชีวิตอยู่ได้ นอกจากจะมีอวัยวะต่างๆ ที่ทำงานได้สัมพันธ์กันเป็นปกติแล้ว ยังต้องมีพลังชี่ (ลมปราณ) คือ
พลังแฝงอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดเป็นปัจจัยเกื้อหนุนให้ระบบต่างๆ ในร่างกายทำงานได้อย่างลื่นไหล ไม่ติดขัด
หากขาดพลังชี่นี้ไป ก็จะไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ และเมื่อมีชี่ หรือ ลมปราณ ก็ต้องมีเส้นทางที่เป็นทางเดินของลม เพื่อคอยกำหนดทิศทางให้ลมปราณนั้นไหลเวียนไปในทิศทางที่ถูกต้อง เป็นระบบระเบียบ เราเรียกเส้นทางการไหลเวียนของ ชี่ นี้ว่า “เส้นลมปราณ”
หน้าที่ของเส้นลมปราณในทางการแพทย์แผนจีน
· เป็นทางเดินของชี่ ที่ช่วยเกื้อหนุนระบบไหลเวียนและสูบฉีดโลหิต ให้เป็นไปโดยสะดวก
· เชื่อมโยงทางเดินของชี่กับอวัยวะภายในต่างๆ ให้เกิดกระบวนการทำงานที่สอดคล้องกัน
· เชื่อมโยงอวัยวะภายในและอวัยวะภายนอกเข้าด้วยกัน
ตัวอย่างเช่น หากมีอาการปวดเอว เข่า ขาไม่ค่อยมีแรง ก็สันนิษฐานได้ว่า น่าจะมีอาการผิดปกติที่กระเพาะปัสสาวะหรือไต เนื่องจากบริเวณบั้นเอว เข่า และขา เป็นแนวที่เส้นลมปราณกระเพาะปัสสาวะและเส้นลมปราณไตพาดผ่านเป็นต้น
การวินิจฉัยอาการ สาเหตุการเกิดโรค และแนวทางการแก้ไขอาการปวดเข่า
อาการปวดเข่าที่พบได้บ่อยแบ่งออกเป็นการปวดตามแนวเส้นลมปราณดังนี้
1. ปวดเข่าด้านหน้า – เนื่องจากทางเดินลมปราณ “กระเพาะอาหาร” ติดขัด มีอาการ ยกขาลำบาก ข้อเท้าติดขัด ปวดตึงหน้าขา หน้าแข้ง
2. ปวดเข่าด้านหลัง – เนื่องจากทางเดินลมปราณ “กระเพาะปัสสาวะ” ติดขัด มีอาการ นั่งงอขา พับเพียบ ขัดสมาธิไม่ได้ เมื่อยืนตรงแล้วเข่างอ หลังค่อม ปวดเมื่อยและชาขาง่าย
3. ปวดเข่าด้านใน – เนื่องจากทางเดินลมปราณ ”ม้าม” ติดขัด เข่าด้านในบวม เวลาเดินแล้วเจ็บเข่าด้านใน เจ็บเท้าด้านในเวลาใส่รองเท้า เท้าบวมง่าย
การปรับพฤติกรรม
· ทานอาหารให้ตรงเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มื้อเช้า ตามหลักนาฬิกาชีวิต ควรรับประทานมื้อเช้าในเวลา 7-9 โมงเช้า เพราะในช่วงเวลานี้ระบบย่อยอาหารจะทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
· เคี้ยวอาหารช้าๆ และเคี้ยวอาหารให้ละเอียด นอกจากจะทำให้ย่อยง่ายแล้ว ขณะที่เราเคี้ยวอาหาร กระเพาะอาหารจะหลั่งเอนไซม์ช่วยย่อยออกมาด้วย เมื่อเราเคี้ยวอาหารก็เหมือนการกระตุ้นการทำงานของกระเพาะอาหารไปด้วย
· ลดการทานอาหารที่ย่อยยากเกินไป เช่น ทานเนื้อสัตว์ปริมาณมาก หรือ ธัญพืชเนื้อแข็ง เช่น ถั่วลิสง, อัลมอนต์, แมคคาเดเมีย
****ขอขอบพระคุณข้อมูลจาก เวปหมอแดง -ช่วยกันทำให้คนป่วยน้อยลง****
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น